วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

กิจกรรมบทที่10


1.       ฝึกปฏิบัติวางแผนการประเมินหลักสูตรครอบคลุมกระบวนการหลักสูตรทั้งหมด

1. ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายในการประเมินการกำหนดจุดมุ่งหมายในการประเมินเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการในการดำเนินการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินต้องกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนว่าจะประเมินอะไร จะทำให้เราสามารถกำหนดวิธีการ เครื่องมือ และขั้นตอนในการประเมินได้อย่างถูกต้อง
2. ขั้นกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผล การกำหนดเกณฑ์และวิธีการประเมินเปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะนำไปสู่เป้าหมายของการประเมิน เกณฑ์การประเมินจะเป็นเครื่องบ่งชี้คุณภาพในส่วนของหลักสูตรที่ถูกประเมิน การกำหนดวิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลทำให้เราสามารถดำเนินงานไปตามขั้นตอนได้อย่างราบรื่น
 3. ขั้นการสร้างเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่จะมีผลทำให้การประเมินนั้นน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน ซึ่งผู้ประเมินจะต้องเลือกใช้และสร้างอย่างมีคุณภาพ มีความเชื่อถือได้และมีความเที่ยงตรงสูง

4. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ในขั้นการรวบรวมข้อมูลนั้นผู้ประเมินต้องเก็บรวบรวมข้อมูลตามขอบเขตและระยะเวลาที่กำหนดไว้ ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลมีส่วนช่วยให้ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ
5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นนี้ผู้ประเมินจะต้องกำหนดวิธีการจัดระบบข้อมูล พิจารณาเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม แล้วจึงวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้
 6. ขั้นสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการประเมิน ในขั้นนี้ผู้ประเมินจะสรุปและรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นต้น ผู้ประเมินจะต้องพิจารณารูปแบบของการรายงานผลว่าควรจะเป็นรูปแบบใด และการรายงานผลจะมุ่งเสนอข้อมูลที่บ่งชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรมีคุณภาพหรือไม่ เพียงใด มีส่วนใดบ้างที่ควรแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิก

7. ขั้นนำผลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาหลักสูตรในโอกาสต่อไป

2.       ฝึกเขียนระบุเกณฑ์คุณภาพหลักสูตรที่พึงประสงค์

แบบสอบถามเพื่อการประเมินหลักสูตร
เรื่อง
    การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน.........................
***************************
คำชี้แจง
แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการ
ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ.2551 แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ข้อมูลด้าน ด้านบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิต

ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ü ใน       หน้าข้อความที่ตรงกับสภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ
   ชาย            หญิง
2. อายุ
   21- 30 ปี       31- 40 ปี         41- 50 ปี        51 ปีขึ้นไป
3. สถานภาพ
    ผู้บริหาร          ครู        ผู้ปกครอง

ตอนที่ 2 ข้อมูลด้าน ด้านบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิต
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย   ในช่องระดับความคิดเห็นตามสภาพจริง โดยพิจารณา
ตามเกณฑ์ดังนี้
5 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นด้วยมาก
3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย
1 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด

1.      ข้อมูลด้านบริบท
รายการ
ระดับความคิดเห็น

ความนำ





มีความชัดเจนและเข้าใจง่าย





มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น





สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง






วิสัยทัศน์





แสดงลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในอนาคตอย่างชัดเจน





มีเป้าหมายที่ชัดเจนรองรับ





มีความสอดคล้องกับสภาพของโรงเรียนและสภาวะปัจจุบัน





มีเอกลักษณ์/สามารถสร้างศรัทธา/จุดประกายความคิดของ






บุคลากร





สามารถนำไปปฏิบัติได้






สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน





แสดงถึงความสามารถที่จำเป็นตามสภาวะปัจจุบัน





๑๐
สามารถนำไปวางแผนปฏิบัติต่อไปได้





เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน






คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน





๑๒
มีความสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน/สังคม





๑๓
มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์





สามารถนำไปวางแผนปฏิบัติต่อไปได้






โครงสร้างของหลักสูตร





๑๕
มีความเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นเรียน





๑๖
จัดสัดส่วนสอดคล้องกับโครงสร้างของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551





จัดเวลาเรียนสอดคล้องและครบถ้วนตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้





๑๘
มีความเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นเรียน





๑๙
มีความสอดคล้องกับสภาพของชุมชนและสังคมปัจจุบัน





สามารถทำให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษาได้








2.      ข้อมูลด้านปัจจัยเบื้องต้น
รายการ
ระดับความคิดเห็น

ครูผู้สอน





มีความสามารถในการสอน





มีความรับผิดชอบในการเรียนการสอน





มีความตรงต่อเวลาและเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล





มีการตรวจสอบงานที่มอบหมายและให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างสม่ำเสมอ





มีความรู้ ความเข้าใจ รู้เป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา





มีความรู้ ความเข้าใจ มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551





มีความสามารถในการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ





มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ





มีความรู้ ความเข้าใจในการทำวิจัยในชั้นเรียน และการทำโครงงาน





๑๐
มีความรู้ ในด้านการวัดผลและประเมินผลการเรียน





๑๑
มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำและใช้สื่อการเรียนรู้





๑๒
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน






ด้านสื่อการเรียนรู้





สถานศึกษามีสื่อธรรมชาติ (พืช สัตว์ สิ่งของ และอื่น ๆ)
ที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้





๑๔
สถานศึกษามีสื่อเทคโนโลยี และอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่เหมาะสมและ
เอื้อต่อการเรียนรู้





๑๕
สถานศึกษามีสื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้





๑๖
สื่อ วัสดุ อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน





๑๗
หนังสือ/ตำรา/เอกสาร ที่ใช้ประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนผู้เรียน





สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้





๑๙
ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการผลิตและใช้สื่อแหล่งการเรียนรู้





๒๐
สถานศึกษามีแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย





๒๑
สถานศึกษามีแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน





๒๒


๒๓
สถานศึกษาจัดแหล่งการเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ของผู้เรียน
แหล่งการเรียนรู้ในชุมชนมีความเหมาะสมต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้






ด้านงบประมาณ





๒๔
สถานศึกษาวางแผนการจัดสรรงบประมาณครอบคลุมภารกิจทุกด้านอย่างเหมาะสม





๒๕
สถานศึกษาจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเพียงพอ





๒๖
สถานศึกษามีงบประมาณสนับสนุนในการจัดทำสื่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอ





๒๗
สถานศึกษามีงบประมาณในการปรับปรุงพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อย่างเพียงพอ





สถานศึกษามีงบประมาณสนับสนุนในการปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างเพียงพอ





สถานศึกษามีงบประมาณสนับสนุน และพัฒนาความรู้
ความสามารถของบุคลากรอย่างเพียงพอ






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น